วันพุธที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558
วันพุธที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2558
สรุปองค์ความรู้ การจัดการเรียนรู้ วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ.2558
รูปแบบการเรียนการสอนทิศนา แขมมณี (2545: 221-296) กล่าวว่า จากการสังเกตและวิเคราะห์ผลงานของนักการศึกษาผู้ค้นคิดระบบและรูปแบบการจัดการเรียนการสอนต่าง ๆ พบว่านักการศึกษานิยมใช้คาว่า “ระบบ” ในความหมายที่เป็นระบบใหญ่ ๆ เช่นระบบการศึกษา หรือถ้าเป็นระบบการเรียนการสอน ก็จะครอบคลุมองค์ประกอบสาคัญ ๆ ของการเรียนการสอนในภาพรวม และนิยมใช้คาว่า “รูปแบบ” กับระบบที่ย่อยกว่า โดยเฉพาะกับ
“วิธีสอน” ซึ่งเป็นองค์ประกอบย่อยที่สาคัญของระบบการเรียนการสอน ดังนั้นการนาวิธีสอนใด ๆ มาจัดทาอย่างเป็นระบบตามหลักและวิธีการจัดระบบแล้ว วิธีสอนนั้นก็จะกลายเป็น “ระบบวิธีสอน” หรือที่นิยมเรียกว่า “รูปแบบการเรียนการสอน”
รูปแบบการเรียนการสอนที่เป็นสากล
รูปแบบการเรียนการสอนที่เป็นสากลซึ่ง รองศาสตราจารย์ ดร. ทิศนา แขมมณี ได้คัดเลือกมานาเสนอล้วนได้รับการพิสูจน์ทดสอบประสิทธิภาพมาแล้วและมีผู้นิยมนาไปใช้ในการเรียนการสอนโดยทั่วไป แต่เนื่องจากรูปแบบการเรียนการสอนดังกล่าวมีจานวนมาก เพื่อความสะดวกในการศึกษาและการนาไปใช้ จึงได้จัดหมวดหมู่ของรูปแบบเหล่านั้นตามลักษณะของวัตถุประสงค์เฉพาะหรือเจตนารมณ์ของรูปแบบ ซึ่งสามารถจัดกลุ่มได้เป็น 5 หมวดดังนี้
1. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านพุทธิพิสัย (cognitive domain)
2. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านจิตพิสัย (affective domain)
3. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านทักษะพิสัย (psycho-motor domain)
4. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการ (process skill)
5. รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการบูรณาการ(integration)
วันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2558
ความรู้
สิ่งที่เราได้เรียนรู้ และสามารถแผยแพร่ให้กับผู้อื่นได้ ความรู้ไม่สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ เราจะมีความมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความสนใจของเราและรู้จักคุณค่ามันมากน้อยเพียงใด
ความรู้ เป็นทรัย์สินที่จับต้องไม่ได้
การจัดการความรู้
ประเภทของความรู้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
สิ่งที่เราได้เรียนรู้ และสามารถแผยแพร่ให้กับผู้อื่นได้ ความรู้ไม่สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ เราจะมีความมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความสนใจของเราและรู้จักคุณค่ามันมากน้อยเพียงใด
ความรู้ เป็นทรัย์สินที่จับต้องไม่ได้
การจัดการความรู้
- การจัดการความรู้ อาจเกิดขึ้นได้โดยบังเอิญ หรือไม่มีการวางแผนมาก่อน
- การจัดการความรู้ ไม่ใช่แฟชั้นที่เกิดขึ้นตายยุคสมัย หรือการสร้างภาพ
- การจัดการความรู้ ที่ดีไม่มีสูตรตายตัว
ประเภทของความรู้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
- Explicit Knowledge เป็นความรู้ที่สามารถมองเห็นได้ชัดเจน เช่น หนังสือ หนังสือพิมพ์ วารสาร
- Tacit Knowledge เป็นความรู้ที่ไม่สามารถมองเห็นได้ เกิดจากการถูกฝังลึกและซ่อนเร้นอยู่ในตัว เช่น ประสบการณ์ การเรียนรู้ พรสวรรค์
โดย นางสาว เสาวนันท์ แหนะหมัด รหัสนักศึกษา 5681135024
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)